Skip to content
Menu
Premier Pet Hospital
  • รวมบทความสาระน่ารู้ Exotic PET
  • สถานที่จอดรถ
  • PREMIER PET HOSPITAL
  • VETERINARY TEAM
  • About
  • Contact
Premier Pet Hospital

Category: บทความน่ารู้ (กระต่าย)

2 Feb 2021

เลี้ยงกระต่ายต้อง กรอฟันไหม ? By Dr. NUT EP. 1 (คนเลี้ยงกระต่ายต้องดู)

Read More
16 Jan 2021

กระต่ายป้อนยาทำไงดี ……..🐰🐰

Read More
9 Dec 2020

“หัวเอียงในกระต่าย ที่เกิดจาก Encephalitozoon cuniculi”

“หัวเอียงในกระต่าย ที่เกิดจาก Encephalitozoon cuniculi” E. cuniculi คือ เชื้อโปรโตซัวในกระต่ายที่ทำให้เกิดปัญหาที่ตา ระบบไต และระบบประสาท สามารถทำให้หัวเอียงหรืออัมพาตได้กระต่ายเมื่อได้รับเชื้อจาก การหายใจ หรือทางการกิน เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายผ่านระบบเลือดไปยังอวัยวะต่างๆ เช่น ไต ตา สมอง– เมื่อเชื้อมาที่ไตจะทำลายเซลล์และเนื้อเยื่อและขับออกทางปัสสาวะ ซึ่งเป็นการแพร่กระจายของเชื้อโดยจะพบว่ากระต่ายกินน้ำมากและปัสสาวะบ่อย น้ำหนักลด และไตวาย ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณเชื้อที่ได้รับ– ถ้าเชื้อไปที่ตา อาการที่แสดงออกมาจะเป็นตาอักเสบ ตากระตุก เป็นต้อกระจก– ถ้าเชื้อไปที่สมอง เชื้อจะไปทำลายเซลล์ทำให้เกิดการอักเสบ อาการที่พบได้ หัวเอียง อัมพาต อาการสั่น ล้มกลิ้ง– ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณเชื้อที่ได้รับ โดยเชื้อจะขับออกจากร่างกายช่วง1-2สัปดาห์แรก ทางปัสสาวะและจะคงอยู่ในร่างกาย 3-5 สัปดาห์ และเชื้อสามารถอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้ 1 เดือนกระต่ายที่อยู่ภาวะเครียด ภูมิคุ้มกันตก อยู่สภาวะแวดล้อมไม่ดี โภชนาการอาหารไม่ดี จะแสดงอาการของโรคได้การวินิจฉัย– เบื้องต้นดูจากอาการที่แสดงออก ไต สมอง ตา– ตรวจวัดระดับ antibody จากเลือด เพื่อดูระดับของภูมิคุ้มกัน lgM lgG…

Read More
12 Sep 2020

ความแตกต่างระหว่างน้องตัวเล็กกับพี่ตัวโต

ความแตกต่างระหว่างน้องตัวเล็กกับพี่ตัวโต– กระต่ายตัวเล็กหูตั้ง สายพันธุ์ Netherland Dwarf หรือ ND เป็นกระต่ายสายพันธุ์ฮิตด้วยความน่ารัก แสนซน โดดเด่นที่ใบหูเล็ก ที่ตั้งคู่ขนาน มีขนสวย สั้น นุ่ม และมันวาว จัดอยู่ในกระต่ายสายพันธุ์แคระ – กระต่ายตัวใหญ่หูยาว สายพันธุ์ Flemish Giant หรือเรียกว่า ไจแอ้นท์ กระต่ายสายพันธุ์นี้จะมีลำตัวใหญ่ยาวแต่สมส่วนและไม่อ้วน ลักษณะเด่นที่สำคัญคือใบหู หูตั้ง โคนหูหนาและแข็ง มีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ตัวเมียมีเหนียงหนานุ่มขนาดใหญ่จัดอยู่ในกระต่ายสายพันธุ์ยักษ์

Read More
5 Dec 20195 Dec 2019

มาดูแลสุขภาพฟันกระต่ายกันเถอะ

🙏🏻😌✌🏻 🐰 การดูแลสุขภาพฟันกระต่ายนั้นเริ่มต้นที่การกินเป็นอันดับแรกหลายคนรู้ว่ากระต่ายมีฟันที่งอกยาวตลอดชีวิตทั้งฟันหน้าและฟันกนามซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้บดเคี้ยวอาหารที่มีไฟเบอร์สูงเช่นหญ้าแห้ง อาหารเม็ด การดูแลสุขภาพฟันกระต่ายนั้นเริ่มต้นที่อาหาร 📌กระต่ายควรกินหญ้าแห้ง 70 % ถึง 80% กระต่ายควรได้รับอาหารที่เหมาะสม คือหญ้าแห้ง หาดอายุต่ำกว่ส 6-8 เดือน ควรกินหญ้า alfafa เนื่องจาก มีโปรตีนและพลังงานสูง และกระต่ายโตควรกินหญ้า timothy หรือ หญ้าอื่นที่มีโปรตีนหรือพลังงานเหมาะสำหรับกระต่ายโต 📌กินอาหารเม็ดที่คุณภาพดีมีไฟเบอร์สูง เนื่องจากกระต่ายมีความจำเป็นต้องเคี้ยวอาหารให้เกิดการสึกของฟันทีาเหมาะสม อาหารเม็ดที่ดีควร มีส่วนช่วยในการขัดฟัน ไฟเบอร์ที่สูงยังป้องกันการเกิดโรคท้องอืดในกระต่าย 📌ให้ขนมและผักเพียงเล็กน้อย กระต่ายควรได้รับขนมและผักเพียงเล็กน้อยและควรเป็นขนมที่มีแป้งและน้ำตาลต่ำหรือไม่มีเลยเพราะการกินขนมมากนอกจากทำให้กระต่ายเกิดอาการท้องอืดยังทำให้เกิดภาวะฟันผุและยังเป็นสาเหตุให้เกิดฝีรากฟันในกระต่ายได้ 📌มันสังเกตอาการกกระต่ายเป็นประจำ กระต่ายที่มีปัญหาโรคฟันจะมีอาการ น้ำลายไหล น้ำตาใหล เบื่ออาหารใบหน้าบวม 📌พากระต่ายพบคุณหมอ ทุก3-6 เดือนเพื่อให้คุณหมอช่วยส่องตรวจฟันกรามด้านใน เช็คสุขภาพเป็นประจำ✌🏻เพียงเท่านี้ ก็เป็นการดูแลสุขภาพฟันกระต่ายได้อีกทางหนึ่ง และอย่างที่บอกครับการป้องกันดีกว่าแก้เสมอ✌🏻 Nut Guyson DVM. Premier Pet Hospital

Read More
5 Jun 2018

เมื่อกระต่ายฟันหน้ายาวจะทำอย่างไร…..

เมื่อฟันหน้าของกระต่ายมีอาการยาวผิดปกติ จำเป็นจะต้องนำมาให้คุณหมอทำการตัดฟันให้ เพื่อจะทำให้กระต่ายกลับมากินน้ำอาหารได้อย่างปกติ *******ควรตัดฟันโดยสัตว์แพทย์เท่านั้น ควรตัดฟันด้วยเครื่องเจียรฟันเท่า ไม่ควรตัดฟันด้วย กรรไกรตัดเล็บ คีมต่างๆ โดยเด็ดขาด เพราะจะทำให้ฟันและรากฟันแตกหักได้เป็นสาเหตุของฝีรากฟันได้********

Read More
3 Jun 2018

น้องกระต่ายป้อนยายากทำอย่างไร (มีคลิป)

Read More
9 Nov 20179 Nov 2017

กระต่ายจำเป็นต้องตรวจเลือดหรือไม่?

ในกระต่าย การตรวจเลือดมีความจำเป็นหรือไม่? การตรวจเลือดเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวินิจฉัยเนื่องจากสามารถบ่งชี้ข้อมูลการทำงานของอวัยวะที่สำคัญในร่างกายได้หลายระบบในระยะเวลาสั้น 💉 การตรวจเลือดสามารถบ่งบอกได้ว่าร่างกายสัตว์ปกติหรือผิดปกติ ถ้าผิดปกติเกิดจากอวัยวะใดเพื่อนำข้อมูลไปวินิจฉัยในการรักษาและป้องกันต่อไป ค่าเลือดที่ใช้ตรวจพื้นฐานได้แก่ ค่าเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด ค่าตับ ค่าไต และค่าเลือดพิเศษที่จำเพาะในแต่ละชนิดสัตว์ // แนะนำให้ตรวจเลือดเพื่อดูความผิดปกติกันเป็นประจำกันทุกปีนะคะ ด้วยความปรารถนาดี☺️

Read More
8 Nov 20178 Nov 2017

5 อาการ สังเกต โรค ฟันยาวในกระต่าย

หลายคนคงไม่ทราบ ว่า กระต่ายของ ตัวเองที่เลี้ยงอยู่นั้น มีฟันแบบ พิเศษ คือ  เป็นฟันที่สามารถ งอกยาวได้ตลอดชีวิต ทั้งฟันหน้า ฟันกราม (กระต่ายไม่มีฟันเขี้ยวนะ)  เพราะธรรมชาติ กระต่ายเป็นสัตว์กินฟืชที่มีเส้นใยเหนียว แข็ง เช่น หญ้าแห้ง ต่างๆๆ  บางการให้อาหารที่ไม่เหมาะ จะส่งผลต่อฟันได้ เราจะดูว่า ถ้ากระต่ายมี ปัญหาโรคฟันยาว จะสังเกตได้อย่างไร…… ฟันหน้ายาวหรือไม่สบกัน อย่างเห็นได้ชัด คางเปียก มีน้ำไหลจำนวนมาก มีโรคผิวหนังใต้คาง ตาแฉะมีน้ำตาไหลตลอดเวลา   กินน้ำปริมาณมากหรือน้อยผิดปกติ จากเดิม   5.เบื่ออาหาร พฤติกรรมการกินอาหารเปลี่ยนไป เช่น กินแต่หญ้า หรือ กินอาหารเม็ดอย่างเดียว ถ้าพบว่า กระต่ายมีอาการดังกล่าว แนะนำให้ไปพบสัตว์แพทย์เพื่อทำการตรวจฟัน  เผื่อที่จะได้รักษาอย่างทันท่วงทีนะครับ Nut Guyson DVM. Premier Pet Hospital  

Read More
28 Sep 2017

มาดูการแยกเพศลูกกระต่ายกันดีกว่า

Read More
  • 1
  • 2
  • Next

FACEBOOK

FACEBOOK

Hours & Info

Premier Pet Hospital 121 Muban Rom Yen Alley, Khwaeng Dok Mai, Khet Prawet, Krung Thep Maha Nakhon 10250
Tel : 083–064-1980 , 063-727-3070
Mon-Sun 9.00น.-21.00 น.
E-mail : premierpethospital@gmail.com
Line : premierpethospital
©2021 Premier Pet Hospital | Powered by WordPress and Superb Themes!
Premier Pet Hospital
Contact / Proudly powered by WordPress Theme: Draftly.